หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ส่งงาน แก๊ส และสารละลาย

เด็กๆฟีเค็ม


ให้แต่ละคน ส่งโดยการเขียนลงในคอมเม้นข้างล่างของบล็อกนี้ ลงชื่อ รหัสให้เรียบร้อยนะคะ
อ.หนุ่ย

59 ความคิดเห็น:

  1. 1. จงคำนวณน้ำหนักโมเลกุลของแก๊สสมบูรณ์แบบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปริมาตร
    500 cm3 มีน้ำหนัก 0.326 g ที่ 100 oC และที่ความดัน 380 torr
    วิธีทำ จากสมการ PV = m/MRT
    P = (380 torr /760 torr atm –1) = 0.5 atm
    V1 = 500 cm3 = 0. 5 L,
    R = 0.08205 L atm K-1 mol-1 , T1 = 373 K,
    m = 0.326 g
    M = ?
    แทนค่าในสูตร จะได้
    M = ((0.326 g)(0.08205 L atm K-1 mol-1)(373 K) )/((0.5 atm)(0.5 L))

    M = 39.9 g mol -1



    นาย ชยณัฐ กุญแจนาค
    สาขา Food-tech
    รหัส5208104307

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. อยากทราบว่าคำตอบทำไมถึงได้39.9แต่ของเรามาคูณหารกันเเล้วได้9.97
      รบกวนหน่อยนะครับ

      ลบ
    2. ไม่ระบุชื่อ23 ธันวาคม 2563 เวลา 07:30

      ขออนุญาตตอบนะคะ เราลองจิ้มเครื่องคิดเลขดูแล้วก็ได้39.9นะคะ ลองใช้เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์ดูค่ะ

      ลบ
  2. Ex. ถังออกซิเจนถังหนึ่งมีขนาด 10 ลิตร สามารถทนความดันได้ 70 atm ถ้าบรรจุแก๊สออกซิเจนลงไปจำนวนหนึ่งที่ทำให้เกิดความดัน 50 atm ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสถามว่าถังจะระเบิดหรือไม่เมื่อเราทิ้งถังนี้ไว้ในโกดังที่มีอุณหภูมิสูงถึง 38 องศาเซลเซียสและเราสามารถเก็บถังนี้ไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดเท่าใดถังจึงจะไม่ระเบิด (52 atm,ถังไม่ระเบิด,ไม่เกิน 144.2 องศาเซลเซียส )

    วิธีทำ
    หา n ของแก๊ส จาก PV = nRT
    n=PV/RT
    =50atm x 10L / 0.08206 L.atm/K/mol x 298K
    =20.5 mol
    หาว่า T=38 องศาเซลเซียส จะมี P=?
    P=nRT/v
    =20.5mol x 0.08206 L.atm/K/mol x 311K / 10L
    =52atm (น้อยกว่า70atm ดังนั้นถังจะไม่ระเบิด)
    ที่ P=70atm จะต้องใช้ T=?
    T=PV/nR
    =70atm x 10L / 20.5mol x 0.08026L.atm/K/mol
    =416.4k
    =143.1 องศาเซลเซียส


    นายพงษ์พัฒน์ เดื่อนวล
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104327

    ตอบลบ
  3. Ex.แก๊สออกซิเจนถูกเก็บโดยการแทนที่น้ำ ที่ 24 องศาเซลเซียส,ความดัน 762 mmHg ได้ปริมาตรเท่ากับ 128 ml จงหามวลของออกซิเจนที่เก็บได้ ให้ความดันไอของน้ำที่ 24 องศาเซลเซียสเท่ากับ 22.4 mmHg (0.164 g)

    วิธีทำ
    Pรวม = P1 + P2
    P1 = Pรวม - P2
    = 762 - 22.4 mmHg
    = 739.6 mmHg
    = 0.97 atm
    n = PV/RT = M/M.W
    M = M.W x PV/RT
    = 32mol x 0.97atm x 128ml x 0.001/0.08206L.atm/K/mol x 297K
    = 0.164 g

    นางสาวพัชราภรณ์ เขม้นเขตการ
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104328

    ตอบลบ
  4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาตร 2,800 ลิตร ที่อุณหภูมิ 0 องศา เซลเซียส ความดัน 2 บรรยากาศ จะมีมวลกี่กรัม

    จากโจทย์ให้หาความดัน โดยจะต้องใช้ กฏของอาโวกราโด ดังนี้

    สูตร --> PV = nRT
    PV = g/m RT
    2(2800) = g/44 0.082(273)
    g = 11006 g ประมาณ 11kg

    ตอบ 11 kg


    นางสาว ตรีลักษณ์ แสงอรุณ

    รหัส 5208104317 food-tech

    ตอบลบ
  5. ตัวอย่าง แก๊สออกซิเจนจำนวนหนึ่งมีปริมาตร 5.00 ลิตร ภายใต้ความดัน 740 mmHg จงหา ปริมาตรแก๊สจำนวนนี้ที่ความดันมาตรฐาน อุณภูมิคงที่

    วิธีทำ ความดันมาตรฐานคือ 760 mmHg
    จากกฏของบอยล์ P1V1 = P2V2
    เมื่อ P1 = 740 mmHg
    V1 = 5.00 ลิตร , P2 = 760 mmHg ,V2 = ?
    แทนค่า 740 mmHg x 5.00 ลิตร = 760 mmHg x V2
    V2 = ( 740 mm x 5.00 ลิตร) / 760 mmHg
    V2 = 4.87 ลิตร
    ตอบ V2 เท่ากับ 4.87 ลิตร


    นางสาวสุกัญญา ไชยนะรา
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104345

    ตอบลบ
  6. จงหาปริมาตรของแก๊สชนิดหนึ่งที่สภาวะมาตราฐาน ถ้าแก๊สนี้มีปริมาตร 6.35 cm3 ที่ 0.950 atm และ 27 oC (5.49 cm3)
    n=PV/RT
    =0.950x6.35x(10-3)/0.08206x300
    =2.45x10-4 mol
    หา V ที่ STP
    V=nRT/P
    =2.45x(10-4)x0.08206x273/1
    =5.48x10-3 L
    = 5.48 cm3
    นางสาว สุนิสา ลิวา
    สาขาFood-tech
    รหัส 5208104348

    ตอบลบ
  7. สารอย่างหนึ่งหนัก 30 g. เมื่อทำให้กลายเป็นไอจะมีปริมาตร 22.4 ลิตร ที่อุณหภูมิ 273 K และความดัน 380 mmHg อยากทราบว่า ไอของสารนี้มีความหนาแน่กี่กรัมต่อลิตรที่ STP และมวลโมเลกุลของสารนี้เป็นเท่าใด

    วิธีทำ ความดัน 380 mmHg = 380/760 = 0.5 atm
    จาก PV = g/M(RT)
    แทนค่า 0.5x22.4 = 30/M(0.082x273)
    M = 60

    เนื่องจากหาความหนาแน่นที่ STP ความดัน = 1 atm
    จาก D = PM/RT
    D = (1x60)/(0.082x273)
    D = 2.678

    นางสาว ณัชชา ชลนพ
    สาขาFood-tech
    รหัส 5208104312

    ตอบลบ
  8. ในแอร์แบก ที่ใช้ในรถยนต์จะบรรจุสาร sodium azide (NaN3) ที่เมื่อเกิดการกระแทกจะเกิดการสลายตัวให้ แก๊สไนโตรเจน และ โลหะ จงหาปริมาตรของแก๊สไนโตรเจนที่ 21 oC และ 823 mmHg ที่เกิดจากการสลายตัว ของ NaN3 60.0 g ( 30.8 l)

    วิธีทำ

    MW : Sodium azide = 23 + (3 x 14) = 65
    n = m / MW
    n = 60 / 65
    = 0.92 mol
    Sodium azide 2 โมล ให้ ไนโตรเจน 3 โมล
    Sodium azide 0.92 โมล ให้ ไนโตรเจน = (0.92 x 3) / 2
    = 1.38 mol
    ใช้สูตร V = nRT / P
    = (1.38 x 0.08206 x 294) / 1.08
    = 3.08



    นายดนุพล กลั่นเจริญ
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104315

    ตอบลบ
  9. แก๊ส X 1 โมล หนัก 70 กีม ที่ STP ถ้า X มีปริมาตร 300 ลบ.ซม. ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1 atm แก๊สนี้หนักกี่กรัม

    เนื่องจาก มวลโมเลกุลคิดจากสาร 1 โมล ดังนั้น แก๊ส X มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 70 g/mol
    PV = nRT
    1x0.3 = g/70(0.082x300)
    g = 0.853 g.

    นางสาว ดวงกมล น้อมจันทึก
    สาขาFood-tech
    รหัส 5208104316

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ไม่ระบุชื่อ10 กรกฎาคม 2564 เวลา 05:45

      แก๊ส X 1 โมล หนัก 50 กรัม ที่ STP ถ้า X มีปริมาตร 100 cm3 ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความดัน 1 atm แก๊ส X หนักกี่กรัม ทำยังไงคะแล้วเอา0.082มาจากไหน?

      ลบ
  10. จงหาว่า Urms ของอะตอมฮีเลียม และโมเลกุลไนโตรเจน ในหน่วยเมตรต่อวินาที ที่ 25 oC และหาว่า ฮีเลียมเคลื่อนที่เร็วกว่าไนโตรเจนกี่เท่า ( He = 1360, N2 = 515 m/s, 2.64 เท่า)

    Urms=√3RT/M
    Urms ของHe= √(3×8.3145×298)/(4×〖10〗^(-3) )
    = 1360
    Urms ของN2= √(3×8.3145×298)/(28×〖10〗^3 )

    = 515 m/s
    Rhe/(Rn2 )=√Mn2/Mhe=√28/4
    =2.64 เท่า
    นางสาวศิริลักษณ์ การะภักดี รหัส 5208104338 สาขา food-tech

    ตอบลบ
  11. จงคำนวณหาจำนวนกรัมของสารละลายกรดไนตริก(HNO3)ที่มีHNO3 อยู่ 10.0 gจากสารละลายกรด HNO3 เข้มข้น 38% โดยน้ำหนัก
    HNO3 จำนวน 38 g อยู่ในสารละลาย 100 g

    HNO3 จำนวน 10 g อยู่ในสารละลาย100/38 x 10 g

    = 26.31 g

    นางสาว นันทิยา วงศ์อามาตย์
    สาขา Food-Tech
    รหัส 5208104321

    ตอบลบ
  12. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 350 cm3 ภายใต้ความดัน 0.92 atm และอุณหภูมิ 21 oC จงหาปริมาตรของแก๊สนี้ที่ความดัน 1.4 atm และอุณหภูมิ 21 oC

    วิธีทำ

    P1V1 = P2V2
    V2 = P1V1/P2
    = (0.92atm)(350cm3)/1.4atm
    = 230 cm3

    ดังนั้น แก๊สนี้มีปริมาตร 230 cm3

    นางสาวสุภาพร ตาเจริญเมือง
    สาขา Food-tech
    5208104349

    ตอบลบ
  13. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 79.5 ลบ.ซม. ที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส แก๊สนี้จะมีปริมาตรเท่าใดที่ 0 องศาเซลเซียส ความดันคงที่

    V1/T1 = V2/T2
    79.5/318 = V2/273
    V2 = 230 ลบ.ซม.

    นางสาว อรอินทร์ สาลีรัมย์
    สาขาFood-tech
    รหัส 5208104316

    ตอบลบ
  14. แก๊สชนิดหนึ่งที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างคาร์บอนและไฮโดรเจน ถูกค้นพบว่าในสภาวะความดันและอุณหภูมิหนึ่ง เคลื่อนที่ไปได้ 4.73 cm เมื่อเปรียบเทียบกับแก๊สโบรมีน (Br2)ที่สภาวะเดียวกันนี้ แก๊สโบรมีนเคลื่อนที่ได้ 1.54 cm. จงหามวลโมเลกุลของแก๊สนี้และทำนายว่าเป็นแก๊สชนิดใด (16.1 g/mol, CH4)

    CxHy เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 1.50 cm
    Br2 เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4.73 cm
    (ระยะทางCxHy )/(ระยะทาง Br2)=√MBr/MCxHy
    1.50/4.73=(√159.8)/(√MCxHy)=√MCxHy
    = 39.86
    MCxHy = 1578.6 kg/mol
    = 15.8 g/mol
    มวลโมเลกุลเป็น 15.8 ดังนั้นน่าจะเป็นโมเลกุล CH4
    นางสาวพิมพิไล โกตะมะ รหัส 5208104330 สาขา FOOD-TECH

    ตอบลบ
  15. จงหาจำนวนโมลของแก๊สอุดมคติซึ่งมีปริมาตร 760 cm3 ความดัน 0.8 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 27OC

    วิธีทำ P = 0.8 บรรยากาศ V = = 0.76 dm3

    T = 273+27 = 300 K R = 0.082058 dm3•atm / mol•K

    PV = nRT

    (0.8 atm) x (0.76 dm3) = n (0.082058 dm3•atm / mol•K) x 300 K

    n =

    = 0.0247 mol

    นางสาวจรัญญา ม่วงทำ
    สาขา Food-tech
    5208104304

    ตอบลบ
  16. Ex. จงคำนวณหามวลโมเลกุลของก๊าซสมบูรณ์แบบ
    0.533 g ที่มีปริมาตร 0.25 L ที่ 25 OC และ 0.974 atm
    วิธีทำ จากสูตร M = mRT/PV
    กำหนดให้ m = 0.533 g, P = 0.974 atm
    V = 0.25 L, T = 273+25 = 298 K
    R = 0.08206 L.atm.K-1.mol-1

    M = (0.533g)(0.08206 L.atm.K-1.mol-1)(298 K)/ (0.974 atm)(0.25 L)
    M = 53.53 Ans




    นางสาว ศุภรัตน์ ยะหัวฝาย
    สาขา Food-Tech
    รหัส 5208104340

    ตอบลบ
  17. แก๊สชนิดหนึ่งมีปรมาตร 350 ลบ.ซม.ภายใต้ความดัน 0.92 atm อุณหภูมิ 21 องศาเซลเซียส จงหาปริมาตรของแก๊สนี้ที่ 1.4 atm อุณหภูมิ 21 องศาเซลเซียส

    จากโจทย์อุณหภูมิคงที่
    P1V1 = P2V2
    0.92x350 = 1.4V2
    V2 = 230 ลบ.ซม.

    นางสาว บุศรินทร์ อุตสินธุ์
    สาขาFood-tech
    รหัส 5208104323

    ตอบลบ
  18. (แก้ไขค่ะ)
    แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 79.5 ลบ.ซม. ที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส แก๊สนี้จะมีปริมาตรเท่าใดที่ 0 องศาเซลเซียส ความดันคงที่

    V1/T1 = V2/T2
    79.5/318 = V2/273
    V2 = 68.25 ลบ.ซม.

    นางสาว อรอินทร์ สาลีรัมย์
    สาขาFood-tech
    รหัส 5208104354

    ตอบลบ
  19. แก๊สแอมโมเนีย 3.50 โมล มีปริมาตร 5.20 l ที่ 47 oC จงหาความดันของแก๊สนี้ โดยใช้สมการของแก๊สสมบูรณ์และแก๊สจริง ( 17.7 และ 16.2 atm ตามลำดับ)
    แก๊สสมบรูณ์
    P= nRT/V=(3.50×0.08205×320)/5.20
    = 17.67 atm
    แก๊สจริง
    p= nRT/(V-nb)- a(n/v)
    (3.50×0.08205×320)/(5.20-3.5×0.0371)-4.17(3.5/5.2)^2
    = 18.12 - 1.89
    = 16.23 atm
    นางสาวจันทีมา เสลาคุณ รหัส 5208104305 สาขา FOOD-TECH

    ตอบลบ
  20. แก๊สคลอรีนในภาชนะที่มีปริมาตร 946 ml มีความดันเท่ากับ 726 mmHg จงหาความดันของแก๊สเมื่อลดปริมาตรลง 792 ml ให้อุณหภูมิคงที่
    วิธีทำ
    P1V1=P2V2
    P2 = P1V1/V2
    = (726 mmHg)(946ml)/(946-792)ml
    = 4.46x10ยกกำลัง3 mmHg
    นางสาวรุ่งนภา เขียวพรม
    สาขา Food_Tech
    รหัส 5208104335

    ตอบลบ
  21. แก๊สธรรมชาติมีแก๊สมีเทน (CH4) อยู่ 3.2 x 105 L ที่ความดัน 1500 atm อุณหภูมิ 45OC แก๊สธรรมชาตินี้มีแก๊สมีเทนอยู่กี่กิโลกรัม (C=12 , H=1)
    วิธีทำ
    PV = RT
    (1500 atm) x (3.2 x 105 L) = (0.082058 L•atm / mol•K) x (318 K)

    = 29.44 x 107 g
    = kg
    ดังนั้น แก๊สธรรมชาติมีแก๊ส CH4 = 2.94 x 105 kg


    นางสาวปทุมรัตน์ ช้างจวง
    สาขา Food Tech
    5208104324

    ตอบลบ
  22. แก๊สคลอรีนในภาชนะที่มีปริมาตร 946 ml มีความดันเท่ากับ 726 mmHg จงหาความดันของแก๊สเมื่อลดปริมาตรลง 792 ml ให้อุณหภูมิคงที่ (4.46 x 103 mmHg)

    P1V1 = P2V2
    P2 = P1V1/V2
    = 726mmHg*946ml/(946-792)ml
    = 4.46*10^3 mmhg

    นางสาวช่อทิพย์ ทิฉลาด
    รหัส 5208104308
    สาขา FOOD-TECH

    ตอบลบ
  23. แก๊สชนิดหนึ่งมีมวล 0.5 กรัม มีปริมาตร 0.25 ลิตร ที่ความดัน 0.9 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 24OC จงหามวลโมเลกุลของแก๊สนี้
    วิธีทำ PV = nRT
    PV = W/M(RT)
    0.9 x 0.25 = (0.5/m)0.082058 x 297
    M = (0.5x0.082058 x 297)/(0.9 x 0.25)
    M = 54.12
    ดังนั้น มวลโมเลกุลของแก๊สเท่ากับ 54.12



    นางสาวรสสุคนธ์ นาคน้อย
    สาขา food-tech
    รหัส 5208104334

    ตอบลบ
  24. ตัวอย่าง 1 บอลลูนลูกหนึ่งบรรจุแก๊สฮีเลียม (He) หนัก 30 กิโลกรัม บอลลูนลูกนี้จะมีปริมาตรเท่าใด ถ้าความดันของแก๊สฮีเลียมเป็น 1.15 atm ณ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส
    วิธีทำ
    จาก PV = nRT
    เราอยากทราบปริมาตรของบอลลูน
    ก่อนอื่นต้องคำนวณหา จำนวนโมลของแก๊สฮีเลียม หนัก 30 กิโลกรัม ก่อน
    เราทราบมาแล้วว่า ฮีเลียมจำนวน 1 โมล มีน้ำหนัก 4 กรัม หรือ 0.0040 kg
    n = 30kg/0.004kg.mol-1
    = 7.5 x 10 กำลัง 3 mol
    อุณหภูมิต้องเปลี่ยนเป็นหน่วยเคลวินก่อน
    20 oC x 1K/1oc + 273K = 293K
    ดังนั้น ปริมาตรสามารถคำนวณได้ดังนี้
    V = 7.5x10กำลัง3 molx0.082L atm K-1 mol-1 x 293K/1.15 atm
    = 1.57 x 10กำลัง5 L

    นางสาวศิริวรรณ พิมพิสาร
    สาขา Food_Tech
    รหัส 5208104339

    ตอบลบ
  25. แก๊สชนิดมีปริมาตร 10 ลิตร ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 เซลเซียส ถ้าแก๊สชนิดนี้มีปริมาตรและความดันเปลี่ยนเป็น 11.5 ลิตร และ 900 มิลลิเมตรปรอท ตามลำดับ จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปในหน่วยองศาเซลเซียส
    วิธีทำ
    P1 = 1 atm [760mmHg] P2 = 900 mmHg
    V1 = 10 L V2 = 11.5 L
    T1 = 273 K T2 = ? K
    แทนค่าในสูตร

    T2 = 900 x 11.5 x 273
    760 x 10
    T2 = 372 K
    t 0 = 372 – 273
    = 99 0 C
    อุณหภูมิของแก๊สที่เปลี่ยนแปลง เท่ากับ 99 0 C
    นายเทอดศักดิ์ เทวฤทธิ์
    สาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
    รหัส 5208104318

    ตอบลบ
  26. 5. แก๊สธรรมชาติประกอบด้วย 8.24 โมล CH4, 0.421 โมล C2H6 และ 0.116 โมล C3H8 ถ้าความดันแก๊สรวมมีค่าเท่ากับ 1.37 atm จงหาความดันย่อยของ propane (C3H8)
    วิธีทำ Pi = XiPt
    P(C3H8)= (o.1116 mol/8.24+0.421+0.1116 mol)(1.37atm)

    P(C3H8)= (0.013)(1.37 atm) =0.0181 atm


    นางสาว กนกพร เตชะวัน
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104301

    ตอบลบ
  27. ในการทดลองหนึ่ง ที่อุณหภูมิห้องเท่ากับ 22oC นักวิทยาศาสตร์ ได้ให้ความร้อนแก่ แก๊ส Ar ที่มีปริมาตร 452 ml จนมีอุณหภูมิเท่ากับ 187 oC จงหาปริมาตรของแก๊สที่อุณหภูมินี้
    วิธีทำ
    T = 22+273 K
    V1T1= V2T2
    V2 = V1T2/T1
    = 452mlx460K/295
    = 705 ml

    นางสาวมินตรา แก่งสันเทียะ
    สาขา Food_Tech
    รหัส 5208104333

    ตอบลบ
  28. เมื่อบรรจุแก๊สชนิดหนึ่งลงในภาชนะขนาด 10.0 l พบว่ามีความดัน 2.00 atm ที่ 0 oC ที่อุณหภูมิเท่าใดความดันจึงจะเป็น 2.50 atm
    วิธีทำ
    P1/T1 = P2/T2
    V1 = P2xT1/P1
    = (2.50 atm/2.00atm)x 273K
    = 341.25K
    = 341.25K - 273
    = 68.25 oC

    นางสาวสิตานัน เผือดนอก
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104343

    ตอบลบ
  29. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย 5% ของกลูโคส(C6H12O6)500 กรัม จะต้องใช้ตัวถูกละลายกี่กรัม

    วิธีทำ ในสารละลาย 100g มีกลูโคสอยู่ 5g
    ถ้าต้องการเตรียมสาร 500g มีกลูโคสอยู่ 5/100(500g) = 25 g

    นางสาวกนกวรรณ มูลสาร
    รหัส5208104302
    สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

    ตอบลบ
  30. แก๊สจำนวน 15 g มีปริมาตร 10 ลิตร ที่ความดัน 150 mmHg เมื่ออุณหภูมิคงที่ ถ้าเปลี่ยนความดันเป็น 50 mmHg แก๊สจะมีปริมาตรเท่าใด
    วิธีทำ P1 = 150 mmHg
    P2 = 50 mmHg
    V1 = 10 ลิตร
    V2 = ?
    จากสูตร P1V1 = P2V2
    150 x 10 = 50 x V2
    = 30 ลิตร

    นางสาว ไพวัลย์ บุญเทียน
    สาขา Food Tech
    5208104331

    ตอบลบ
  31. จงหาจำนวนโมลของ แก๊สสมบรูณ์ ซึ่งมีปริมาตรเท่ากับ 0.452 l ที่ 87 oC และ 0.620 atm.
    วิธีทำ n= PV/RT
    =(0.620 x 0.452) /(0.08206 x 360)
    =9.49 x 10-3 mol
    ดังนั้น จำนวนโมลของแก๊สสมบูรณ์มีค่าเท่ากับ9.49 x 10-3 mol

    นางสาววรมน เทียมเมือง
    รหัส 5208104336
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  32. จงหาน้ำหนักโมเลกุลของแก๊สที่มีความหนาแน่นเท่ากับ 7.71 g/l ที่ 36 oC และ 2.88 atm (67.9 g/mol)
    MW = ? , D = 7.71 g/L

    MW = DV/n
    = D.v/P.V
    MW = DRT/P
    = (7.71g/l-1)x(0.08206l.atm.K-1.mol-1)x(309K- 1) / 2.88atm
    = 67.9 g/mol

    นางสาวสุกัญญา ขาวแจ้ง
    รหัส 5208104344
    สาขา FOOD-TECH

    ตอบลบ
  33. แก๊ส 500 cm3 หนัก 0.326 g ที่ 100 oC และ 380 torr มีน้ำหนักโมเลกุลเป็นเท่าใด
    วิธีทำ
    n = PV/RT
    = 0.5atm x 500 x 10กำลัง-3 l/0.08206 l.amt.K-1.mol-1 x 373K
    = 8.17 x 10กำลัง-3 mol
    จาก n = g/MW
    MW = g/n
    = 0.326g/8.17x10กำลัง-3 mol
    = 39.9 g/mol

    ตอบลบ
  34. แก๊สมีความหนาแน่น1กิโลกรัม/ลบม.อุณหภูมิ27องศาเซลเซียสความดัน1บรรยากาศเมื่ออัดแก๊สจนมีความดันเป็น2บรรยากาศที่127องศาเซลเซียสและพบว่าระหว่างอัดมีแก๊สจำนวนหนึ่งรั่วโดยมีมวลหายไป20เปอร์เซนต์ความหนาแน่นของแก๊สจะเป็นเท่าใด



    วิธีทำ

    P1/d1T1 = P2/d2T2



    (1)/(1)(300) = (2)/(d2)(400)



    d2 = (2)(300)/400



    d2 = 1.5 กิโลกรัม/ลบม.

    นางสาวธันย์ชนก เง่าพิทักษ์กุล
    สาขา Food-Tech
    5208104319

    ตอบลบ
  35. แก๊ส 500 cm3 หนัก 0.326 g ที่ 100 oC และ 380 torr มีน้ำหนักโมเลกุลเป็นเท่าใด
    วิธีทำ
    n = PV/RT
    = 0.5atm x 500 x 10กำลัง-3 l/0.08206 l.amt.K-1.mol-1 x 373K
    = 8.17 x 10กำลัง-3 mol
    จาก n = g/MW
    MW = g/n
    = 0.326g/8.17x10กำลัง-3 mol
    = 39.9 g/mol

    นางสาวศิรินันท์ เล็กกระโทก
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104337

    ตอบลบ
  36. แก๊ส N2 จำนวน 4.8 x 1024 โมเลกุล บรรจุในภาชนะ 67.2 dm3 ที่ 00C มีความดันเท่าไร
    จากโจทย์ให้หาความดัน โดยจะต้องใช้ กฏของอาโวกราโด ดังนี้
    สูตร --> PV = nRT
    P * 67.2 = 4.8 * 1024 * 0.082 * 273
    6.02 * 1023
    P = 2.65 atm
    P = 2.65 * 760 --> 2014 mm.Hg

    นางสาว ปทุมรัตน์ ช้างจวง
    สาขา Food tech
    5208104324
    (เอาอันนี้ค่ะ)

    ตอบลบ
  37. จงคำนวณหาน้ำหนักเชิงโมเลกุลของตัวถูกละลายของสารละลายที่มีตัวถูกละลายอยุ่ 3.5g ต่อลิตร ความดันออสโมติกเท่ากับ 0.337 mm ปรอทที่ 25 องศาเซลเซียล
    0.337= (3.5 g/L)/Mw×0.082 (L×atm)/(K×mol)×(273+25)K
    Mw= 254
    นางสาวอโนชา วรรณทอง
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104353

    ตอบลบ
  38. จงหาปริมาตรของแก๊สคลอรีน 13.7 ที่อุณหภูมิ 45°C และความดัน 760 mmHg

    PV = nRT
    V = nRT/P
    n = 13.7/35.5×2g. mol -1 = 0.193 mol -1
    V =193 mol ×082 L.atm.mol mol -1 K ×(45+273)/760mmHg.atm
    = 5.03 L
    นางสาวกาญจนา รำไพบิน
    5208104303 สาขา food - tech

    ตอบลบ
  39. สารละลายซูโครส( C12H22O11)10g ในสารละลาย 1ลิตรืฃ ที่อุณหภูมิ 30องศาเซลเซียล จะมีความดันออสโมติกเป็นเท่าไร
    π=MRT= 10g/(342g/mol)×0.082 (L×atm)/(K×mol)×(273+30)K
    π= 0.74
    นางหทัยรัตน์ พงประยูรณ์
    ลสาขา Food-tech
    รหัส 5208104352

    ตอบลบ
  40. แก๊สในถังที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความดัน 5 บรรยากาศ มีมวล 10 กิโลกรัม เมื่อปล่อยแก๊สออกมาใช้เสียบ้าง ความดันจะลดเหลือเพียง 2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จงหาว่าแก๊สที่เหลือจะมีมวลกี่กิโลกรัม

    เมื่อ m เป็นจำนวนมวลของแก๊สที่เปลี่ยนแปลง
    จากสูตร P1V1/m1T1 = P2V2/m2T2
    เเทนค่า 5N/m^2V/10kg*(273+30)K = 2N/m^2V/m2*(273+27)K
    จะได้ m2 = 4.04 kg
    ดังนั้น เเก๊สจะเหลือมวลอยู่ 4.04 กิโลกรัม

    นางสาวสุดาวรรณ หนูน้อย
    รหัส 5208104346
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  41. แก๊สไฮโดรเจน 1 ลิตร ความดัน 2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีมวลกี่กรัม

    P = 2*10^5N/m2
    V = 10^-3m3
    T = 273 + 27 = 300 K

    PV = m/m0(RT)
    m =(2*10^5N/m^2)x(10^-3m^2)x(2*10^3kg)/8.31J/mol.Kx300K
    m = 0.16g

    นางสาวอารีย์พร เพ็ญเกตุ
    รหัส 5208104355
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  42. จงคำนวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่ประกอบด้วยสารประกอบชนิดหนึ่งหนัก 2.0 g ที่มีน้ำหนักโมเลกุล 125 g/mol ในการบูร 50.0 g (จุดเยือกแข็งของการบูรบริสุทธิ์คือ 178.4 C %มี Kf=40.0 C/m
    ∆Tƒ=Kƒ×m
    ∆Tƒ=40C/M×2.0g/(125g/mol)×1/0.05kg
    ∆Tƒ=12.8 C
    Tƒ’=178.4+12.8 C=191.2 C
    นางสาวฐิติรัตน์ บริสุทธิ์
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104311

    ตอบลบ
  43. สารละลายซูโครส( C12H22O11)10g ในสารละลาย 1ลิตรืฃ ที่อุณหภูมิ 30องศาเซลเซียล จะมีความดันออสโมติกเป็นเท่าไร
    π=MRT= 10g/(342g/mol)×0.082 (L×atm)/(K×mol)×(273+30)K
    π= 0.74
    นางสาวหทัยรัตน์ พงประยูรณ์
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104352

    ตอบลบ
  44. แก๊สออกซิเจน ที่ STP บรรจุในภาชนะปิดที่มีปริมาตร 1.00 L เมื่อให้ความร้อน จนอุณหภูมิเป็น 100 oC ความดันของแก๊สออกซิเจน จะเป็นเท่าไร

    วิธีทำ

    จาก P1V1/n1T1 = P2V2/n2T2

    เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนโมลและปริมาตรของแก๊สออกซิเจน

    จะได้ว่า P2 = P1T2/T1


    P2 = 1 atm ×(100+273)K/(273K)

    P2 = 1.37 atm

    ดังนั้น ความดันของแก๊สออกซิเจน เท่ากับ 1.37 atm

    นางสาว น้ำฝน พูลสวัสดิ์
    รหัส 5208104322
    สาขา food-tech

    ตอบลบ
  45. แก๊ส H21.0 g ผสมกับแก๊ส He 5.0 g จงหาความดันย่อยของแก๊สทั้งสองซึ่งมีปริมาตร 5.0 L ที่ 20°C
    จำนวนโมล H2= 1.0 g / 1.0×2 g.mol-1= 0.5 mol
    จำนวนโมล He 5.0 g / 4.0g.mol-1= 1.25 mol

    Pt=ntRT/V
    Pt=(0.5+1.25) ×0.082 ×(20+273)/5.0
    Pt= 8.41 atm


    นางสาวฐิติรัตน์ บริสุทธิ์
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104311 (เอาอันนี้นะค่ะ)

    PH2=nH2/nt×Pt=x1Pt
    PH2=0.5/(0.5+1.25)×8.41
    PH2= 2.40atm
    PHe=1.25/(0.5+1.25)×8.41
    PHe= 6.01atm

    ตอบลบ
  46. จงหาความหนาแน่นของแก๊สออกซิเจน(O2)ที่
    298 K ความดัน 0.987 atm
    d=PM/RT
    d=0.987 atm×(16.0 ×2)g.mol-1/0.082 L.atm.mol-1.K-1×298K
    d=1.29 g/L
    นางสาวโสรญา แก่นจันทึก
    สาขา Food-tech
    รหัส 5208104351

    ตอบลบ
  47. โจทย์ จงหาปริมาตรของ O2 ที่ STP ที่จะทำให้เกิดการสันดาป acethylene (C2H2) 2.64 l หมดพอดี ที่ STP สมการการสันดาปคือ 2C2H2(g) + 5O2(g) 4CO2(g) + 2H2O(l)

    วิธีทำ 1 mol = 22.42 L ที่ STP

    C2 H2 ในปริมาตร 2.64 L ดังนั้น C2 H2 มีจำนวนโมล = 0.118 mol

    mol ของ C2H2 กับ O2 = 2 : 5

    ถ้าใช้ C2H2 0.118 mol จะต้องใช้ O2 = 0.188 x 5 /2= 0.295 mol



    PV = nRT

    v = (0.295 x 0.08206 x 273)/1

    = 6.60 L


    นางสาวชุติมา ใจดื่ม

    5208104310 สาขา food - tech

    ตอบลบ
  48. จงหาปริมาตรของสารละลาย Fe(NO3)3 เข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล ซึ่งมี Fe(NO3)3 ละลายอยู่ 30 g สารละลายมีความหนาแน่น 1.16 g/cm3 ที่ 25 องศาเซลเซียล

    วิธีทำ ร้อยละโดยมวลของ Fe (NO3)3 = (มวลของ Fe (NO3)3 / มวลของสารละลาย) *100

    15 = (30/มวลของละลาย)*100

    มวลของสารละลาย = (30*100)/15

    = 200 g



    ความหนาแน่น = m/v

    1.16 = 200/v

    V = 200/1.16

    = 172.41

    : ดังนั้น ปริมาตรของ Fe (NO3)3 = 172.41 cm3

    นางสาว สมฤทัย ศิริสุข
    รหัส 5208104342
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  49. แก๊สออกซิเจนถูกเก็บโดยการแทนที่น้ำ ที่ 24 oC, ความดัน 762 mmHg ได้ปริมาตรเท่ากับ 128 ml จงหามวลของออกซิเจนที่เก็บได้ ให้ความดันไอของน้ำที่ 24 oC เท่ากับ 22.4 mmHg (0.164 g)

    วิธีทำ P รวม = P1 + P2

    P1 = P รวม – P2 = 762 – 22.4 = 739.6 mmHg =0.97 atm

    นาย ณัฐวุฒิ วงษ์ศรีเมือง
    รหัส 5208104314
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  50. จงหาเปอร์เซ็นต์โดยมวลของ O ใน H2So4 (กำหนดมวลอะตอมของ H=1, S=32, O=16)

    วิธีทำ มวลโมเลกุลของ H2So4 =2(1) + 32+4(16) =98

    H2So4 หนัก 98 g ประกอบด้วย O 4*16 = 64 g

    H2So4 หนัก 100 g ประกอบด้วย O 64*100/98 =65.31 g

    : ดังนั้น H2So4 ประกอบด้วย O =65.31%

    นาย ณัฐวุฒิ วงษ์ศรีเมือง
    รหัส 5208104314
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  51. จงหาปริมาตรของแก๊สชนิดหนึ่งที่สภาวะมาตราฐาน ถ้าแก๊สนี้มีปริมาตร 6.35 cm3 ที่ 0.950 atm และ 27 oC (5.49 cm3)

    n = PV/RT = 0.950 x 6.35 x 0.001/0.08206 x 300 = 2.45 x 0.0001
    หา V ที่ STP
    V = nRT/P = 2.45 x 0.0001 x 0.08206 x 273 / 1
    = 5.48 x 10-3 L

    = 5.48 cm3


    นางสาวปัญชญา หอมนาน
    รหัส 5208104326
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  52. แก๊สออกซิเจน 1 mol ที่อุณหภูมิ 62.4 0C ความดัน 3.45 atm มีความหนาแน่นเท่าใด
    วิธีทำ P = 1500 atm V = 3.2 x 10 5 L
    T = 273+45 = 318 K R = 0.082058 L•atm / mol•K
    PV = w/M*RT
    เนื่องจาก d = w/v
    w = dV
    PV = dv/M*RT
    d = MP/RT
    =(30g/mol) (3.45atm)/(0.082058L.atm.K)(335.4K)

    = 4.01 g / L
    ดังนั้น แก๊สออกซิเจนมีความหนาแน่น = 4.01 g / L

    นางสาวชิดชนก สุคำ
    รหัส 5208104309
    สาขา Food-Tech

    ตอบลบ
  53. แก๊สมีปริมาตร 15 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ความดัน 5 atm เมื่ออุณหภูมิคงที่ ถ้าเปลี่ยนความดัน เป็น 10 atm แก๊สจะมีปริมาตรเท่าใด

    ตอบลบ