แก๊ส H2 1.0 g ผสมกับแก๊ส He 5.0 g จงหาความดันย่อยของแก๊สทั้งสองซึ่งมีปริมาตร 5.0 L ที่ 20°C จำนวนโมล H2 = 1.0 g / 1.0×2 g.mol-1 = 0.5 mol จำนวนโมล He 5.0 g / 4.0 g.mol-1 = 1.25 mol
วิธีทำ แก๊ส A 1 โมล หนัก 46 กรัม แสดงว่า แก๊ส A มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 46 จากสูตร PV = nRT PV = gRT M g = PVM RT = 3 atm X 0.2 L X46 g mol-1 0.082 L atm mol-1K-1 X 300 K g = 1.12 กรัม แก๊ส A 200 cm3 ที่ 27 ํC ความดัน 2 atm จะหนัก 1.12 กรัม
โจทย์ แก๊สชนิดหนึ่งเกิดจาก Si และ F โดยมีสัดส่วนโดยน้ำหนักคือ Si = 33.0%, F = 67.0% จงหาสูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ เมื่อแก๊สนี้มีน้ำหนัก 2.38 g ที่ 1.70 atm มีปริมาตร 0.210 l และ อุณหภูมิ 35 oC (Si2F6)
ออกไซด์ของโลหะ X จำนวน 28 g ทำปฏิกิริยากับผงถ่านที่มากเกินพอในภาชนะปริมาตร 6.0 L ได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ซึ่งมีความดัน 0.821 atm ณ อุณหภูมิ 27๐C จงคำนวณหาน้ำหนักเชิงอะตอม X เมื่อสมการปฏิกิริยาเป็นดังนี้
X2O(s)+C(s) >>>>2X(s)+CO(g)
คำนวณหาจำนวนโมลของ CO ที่เกิดขึ้น
n = RT/PV >> n=(0.08206 L.atm.K-1.mol-1)(273.15+27.0K)/(0.821atm)(6.0L)=5.0mol
จากสมการเคมีที่กำหนดให้
CO 1 mol เกิดจาก X 2 mol CO 5 mol เกิดจาก X (2 mol)(5/1)=10 mol
ถ้าความหนาแน่นของแก๊สชนิดหนึ่งเป็น 1.28 กรัม/ลิตร ที่ 25 ํC ความดัน 560 mmHg จงหามวลโมเลกุลของแก๊สนี้ วิธีทำ จากสูตร P = dRT M M = dRT P = 1.28 g L-1 X 62.4 L mmHg mol-1K-1 X 298 K 560 mmHg
เมื่อ P = ? atm , V = 150 cm^3 = 0.15 L , n = 0.0047 mol , R = 0.08206 L * atm * K^-1 * mol^-1 , T = 273.15 + 30 = 303.15 K
แทนค่าลงในสูตร P * 0.15 L = 0.0047 mol * 0.08206 L * atm * K^-1 * mol^-1 * 303.15 K P = 0.0047 mol * 0.08206 L * atm * K^-1 * mol^-1 * 303.15 K / 0.15 L
Ideal gas 5 โมล ขยายตัวแบบผันกลับได้จากปริมาตร 50 L เป็น 150 L ที่ T คงที่ = 150oC จงคำนวณงานเป็น L-atm และ J วิธีทำ T คงที่ V เปลี่ยนไปมา ==> P ไม่คงที่ คิดงาน W = PDV ไม่ได้ (เพราะ P ไม่คงที่)
W = P dV = nRT/V dV = nRT (1/V) dV = nRT ln (V2/V1) = 5 mol x 8.314 J/mol K x 423 K x ln (150/50) = 19,300 J (R = 0.0821 Latm/mol K, W = 190.8 L atm)
นางสาวพิมพ์ใจ ชะงัก รหัส 5308104325 สาขา Food-Tech
ตอบลบแก๊ส H2 1.0 g ผสมกับแก๊ส He 5.0 g จงหาความดันย่อยของแก๊สทั้งสองซึ่งมีปริมาตร 5.0 L ที่ 20°C
จำนวนโมล H2 = 1.0 g / 1.0×2 g.mol-1 = 0.5 mol
จำนวนโมล He 5.0 g / 4.0 g.mol-1 = 1.25 mol
Pt = ntRT/V
Pt =(0.5+1.25) ×0.082 ×(20+273)/5.0
Pt = 8.41 atm
PH2 = nH2/nt*Pt=x1Pt
PH2 = 0.5/(0.5+1.25)×8.41
PH2 = 2.40 atm
PHe = 1.25/(0.5+1.25)×8.41
PHe = 6.01 atm
*พิมพ์เป็นเศษส่วนไม่ได้ค่ะเลยออกมาเป็นแบบนี้ค่ะ
โจทย์ : ภาชนะปิดที่มีปริมาตร 4.15 ลูกบาศก์เมตร บรรจุก๊าซที่มีความดัน 6×10ยกกำลัง4 นิวตัน/ตารางเมตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถ้าปล่อยให้ก๊าซรั่วออกจากภาชนะจนความดันเหลือ 1/4 ของความดันเดิม และอุณหภูมิเท่าเดิม จงหาจำนวนโมลของก๊าซที่รั่วออกไป ( กำหนดให้ R= 8.3 J/mol.K )
ตอบลบวิเคราะห์โจทย์ : เมื่อรู้ V= 4.15 ลูกบาศก์เมตร , P1= 6×10ยกกำลัง4 นิวตัน/ตารางเมตร , T1=27°C หรือ 300 K , P2 = 1/4 × 6 ×10ยกกำลัง4 นิวตัน/ตารางเมตร , T2 = 300 K ต้องการหา n1- n2
วิธีทำ
PV = nRT
n = PV/RT
n1 - n2 = V/RT (P1 – P2 )
= 4.15/(8.3×300 )(1 - 1/4)× 6 × 10ยกกำลัง4
ดังนั้น n1 – n2 = 75 โมล
ตอบ...จำนวนโมลของแก๊สที่รั่วออกไปเท่ากับ 75 โมล
โดย :นางสาวพัชรา ดำครุฑ รหัส5308104323 สาขา Food-tech
****เลขยกกำลังกับเศษส่วนเขียนไม่ได้ค่ะนู๋เลยขอใช้คำว่า ยกกำลัง ไปด้วยนะค่ะ ^^
โจทย์ :จงหาปริมาตรของแก๊ส Cl2 13.7 g ที่อุณหภูมิ 45 °C และความดัน 760 mmHg
ตอบลบวิธีทำ
PV = nRT
V = nRT/P
n= 13.7 g/35.5×2 g.molยกกำลัง-1=0.193 mol
V= 0.193 mol ×0.082 L.atm.molยกกำลัง-1.Kยกกำลัง-1 ×(45+273)K/760mmHg/760mmHg.atmยกกำลัง-1
= 5.03 L
โดย :นางสาววิชชุดา ร่มเย็น รหัส5308104338 สาขา Food-tech
นางสาวปรียะณัฐ หิรัญญสุวรรณ รหัส 5308104320 สาขา Food-Tcch
ตอบลบโจทย์ ที่ความดัน 1 บรรยากาศไอน้ำ 1 g อุณหภูมิ 100 °C จะมีปริมาตรเท่าใด
PV = nRT
V = nRT/P
น้ำ 1g มีปริมาณ 1/18 โมล
V = (1×8.314×(273+100))/(18×1.013×〖10〗^5 )
= 1,70×〖10〗^(-3) m^3
ไอน้ำ 1g จะมีปริมาตร = 1,70×〖10〗^(-3) m^3
เลขยกกำลังพิมพ์ไม่ได้ ขึ้นเป็น [()] นะคะ
โจทย์ แก๊สออกซิเจนถูกเก็บโดยการแทนที่น้ำ ที่ 24 oC, ความดัน 762 mmHg ได้ปริมาตรเท่ากับ 128 ml จงหามวลของออกซิเจนที่เก็บได้ ให้ความดันไอของน้ำที่ 24 oC เท่ากับ 22.4 mmHg (0.164g)
ตอบลบวิธีทำ P รวม = P1 + P2
P1 = P รวม – P2 = 762 – 22.4 = 739.6 mmHg =0.97 atm
n = PV/RT = M/M.W
M = M.W*PV/RT
= 32*0.97*128*10ยกกำลัง -3 ทั้งหมดหารด้วย 0.08206*297
= 0.164 g
ตอบ มวลของออกซิเจนที่เก็บได้ = 0.164 g
*** นางสาวกชธนพร จิตนารี รหัส 5308104301 สาขา Food-tech ปี3 ค่ะ ***
นางสาวศิริกาญจน์ เมืองพิล รหัส5308104340 สาขา food-tech
ตอบลบโจทร์ ก๊าชฮีเลียม 1 ลิตร ความดัน 2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 °C จะมีมวลของก๊าชฮีเลียมเท่าใด
วิธีทำ จากสมการ PV = nRT
2 × 1.01 × 10ยกกำลัง5 × 10ยกกำลัง-3 = n × 8.314 × ( 273 + 27 )
n = 0.08 mole
ก๊าชฮีเลียม 1 โมล มีมวล 4 g
.'. ก๊าชฮีเลียม 0.08 โมล มีมวล 4 × 0.08 = 0.32 g
น้ำจำนวน 1 กรัม ระเหยกลายเป็นไอในภาชนะขนาด 10 ลิตร ความดันของน้ำจะเป็นเท่าใดเมื่อการระเหยเป็นไอสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส
ตอบลบวิธีคำนวณ
จากสูตร PV = nRT
หาจำนวนโมล (n) ของน้ำก่อน จากสูตร n = g/mol
จะได้ n = 1g/18.molยกกำลัง -1 = 0.056 mol
อุณหภูมิสัมบูรณ์ เท่ากับ 200°C x 1K/1°C + 273K = 473 K
แทนค่า V = 10 L , T = 473 K , n = 0.056 mol
จะได้ P = 0.056 mol x 0.082 L atm Kยกกำลัง-1 x 473 K/10 L
= 0.22 atm
*ดังนั้น ความดันของน้ำเมื่อระเหยเป็นไอสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส = 0.22 atm
***เศษส่วนกับเลขยกกำลังเขียนไม่ได้ค่ะ เลยพิมพ์แบบนี้นะคะ
นางสาวพรพิมล ขัดทะเสมา รหัส5308104321 สาขา Food-Tech...
จงหาปริมาตรของแก๊สชนิดหนึ่งที่สภาวะมาตราฐาน ถ้าแก๊สนี้มีปริมาตร 6.35 cm(3) ที่ 0.950 atm และ 27 oC (5.49 cm(3))
ตอบลบn=PV/RT = 0.950 x 6.35 x 10(-3) หารทั้งหมดด้วย 0.08206 x 300
จะได้ = 2.45 x 10(-4) mol
หา V ที่ STP
V= nRT/P = 2.45 x 10(-4) x 0.08206 x 273 หารทั้งหมดด้วย 1
= 5.48 x 10-3 L
= 5.48 cm3
()<< คือเลขยกกำลังนะค่ะ
*** นางสาวสิริพรรณ เผือกเจริญ รหัส 5308104346 สาขา Food-tech ***
โจทย์ จงหาปริมาตรของแก๊สชนิดหนึ่งที่สภาวะมาตราฐาน ถ้าแก๊สนี้มีปริมาตร 6.35 cm3 ที่ 0.950 atm และ 27 oC (5.49 cm3)
ตอบลบวิธีทำ สูตร PV = nRT
n = PV/RT= 0.950*6.35*10ยกกำลัง -3 ทั้งหมดหารด้วย 0.08206*300
= 2.45*10ยกกำลัง-4mol
หา V ที่ STP
V=nRT/P = 2.45*10ยกกำลัง-4*0.08206*273ทั้งหมดหารด้วย1
= 5.48*10ยกกำลัง-3L
= 5.48cm
โดย นางสาว จิตราภรณ์ จันทร์แก้ว 5308104308 สาขา Food-tech ปี3 ค่
นางสาวสรัญญา กันหาไชย รหัส 5308104343 สาขา Food-Tech
ตอบลบโจทย์ ถังเหล็กกล้ามีปริมาตร 438 ลิตร ถูกเติมให้เต็มด้วย O₂ ปริมาณ 0.885 kg จง คำนวณหาความดันของ O₂ ที่อุณหภูมิ 210 องศาเซลเซียส
วิธีทำ PV = nRT
P = nRT/V
p = 0.885×1000g/32gmol-1×0.0821Latmmol-1 K-1×483/438L
ตอบ P = 2.50 L
โจทย์ จงหาปริมาตรของแก๊ส CO2 ที่มีน้ำหนัก 7.40g ที่ STP (3.77 l)
ตอบลบวิธีทำ CO2 MW = 44 g/mol
n=m/MW = 7.40/44=0.168mol
V=nRT/P = 0.168*0.08206*273ทั้งหมดหารด้วย1
=3.77 L
โดย นางสาว จิตราภรณ์ จันทร์แก้ว 5308104308 สาขา Food-tech ปี3 ค่ะ
*** เอาอันนี้ค่ะ อันแรกซ้ำเพื่อนค่ะ***
ขอ ดู ตัวอย่าง
ลบนางสาว วชิราภรณ์ วัชรสกุณี รหัส 53081044325 สาขา food-tech
ตอบลบโจทย์ แก๊สแอมโมเนีย 3.50 โมล มีปริมาตร 5.20 l ที่ 47 oC จงหาความดันของแก๊สนี้ โดยใช้สมการของแก๊สสมบูรณ์และแก๊สจริง แก๊สสมบรูณ์
P = nRT/V
=3.50*0.08025*320/5.20
= 17.67 atm
แก๊สจริงP = ( nRT/V-nb) – a (n/v)2
= ( 3.5*0.08205*320/5.20-3.5*0.0371) – 4.17 (3.5/5.2)2
= 18.12 - 1.89
= 16.23 atm
1. ภาชนะใบหนึ่งมีขนาด 2.10 L บรรจุแก๊ส A หนัก 4.65 กรัม ที่ความดัน 1.00 atm และอุณหภูมิ 27°C จงหามวลโมเลกุลของแก๊ส A
ตอบลบวิธีทำ PV = nRT --> n =PV/RT = 1.00atm * 2.10 L / 0.0821 L atmยกกำลัง-1 Kยกกำลัง-1 * 300K = x mol
มวลโมเลกุล = 4.65 g / x mol = 54.54 กรัม โมลยกกำลัง-1
หรือ n = PV / RT และ n = น้ำหนัก(g) / มวลโมเลกุล(g molยกกำลัง-1) --> มวลโมเลกุล = น้ำหนัก(g)* RT / PV
มวลโมเลกุล = 4.65 g * 0.0821 L atm molยกกำลัง-1 Kยกกำลัง-1 * 300 K / 1.00 atm * 2.10 L
54.54 กรัม โมล ยกกำลัง-1
-----น.ส. ชลิดา ทรัพย์พะนะ 5308104314 Food Tech-----
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบจงหาจำนวนโมลของ แก๊สสมบรูณ์ ซึ่งมีปริมาตรเท่ากับ 0.452 l ที่ 87 oC และ 0.620 atm
ตอบลบวิธีทำ
PV=nRT
n=pv/RT
=0.620x0.452/0.08206x360
= 9.49 x 10(-3) mol
* 10(-3)คือ สิบยกกำลังลบสาม ค่ะ
นางสาวศิริวรรณ สุวรรณทัต รหัส 5308104341 สาขา Food-tech
นางสาวจันทิรา สวนสมจิตร รหัส 5308104307 สาขา FOOD-TECH
ตอบลบจงหาปริมาตรของแก๊ส CO2 ที่มีน้ำหนัก 7.40g ที่ STP
วิธีทำ
CO2 MW = 44 g/mol
n = m/MW = 7.40/44 = 0.168 mol
v = nRT/P
= ( 0.168x0.08206 x 273) / 1
= 3.77 L ...
แก๊สแอมโมเนีย 3.50 โมล มีปริมาตร 5.20 l ที่ 47 oC จงหาความดันของแก๊สนี้ โดยใช้สมการของแก๊สสมบูรณ์และแก๊สจริง
ตอบลบแก๊สสมบรูณ์
P = nRT/V =3.50*0.08025*320/5.20
= 17.67 atm
แก๊สจริง
P = ( nRT/V-nb) – a (n/v)2
= ( 3.5*0.08205*320/5.20-3.5*0.0371) – 4.17 (3.5/5.2)2
= 18.12 - 1.89
= 16.23 atm
นางสาววชิราภรณ์ วัชรสกุณี 5308104335 food – tech ปี3 ค่ะ
**เอาอันนี้ค่ะ อันเก่าพิมรหัสผิดค่ะ**
นางสาวอังคณา ภัทรเวียงกาญจน์ 5308104354 Food tech
ตอบลบโจทย์ :ในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งปฎิกิริยาระหว่าง แอมโมเนีย (NH3) และ ออกซิเจน (O2) จะเกิดแก๊ส nitric oxide (NO) และไอน้ำ ถ้าเราใช้แอมโมเนียตั้งต้นที่ 3.00 L ที่ 802 องศาเซลเซียส และ 1.30 atm ทำปฎิกิริยากับออกซิเจนจนหมด จงหาว่าที่ 125 องศาเซลเซียส และ 1.00 atm จะเกิดไอน้ำกี่ลิตร
วิธีทำ 4 NH3 + 5 O2 ____ 4 NO + 6 H20
หา n ของ NH3 ; n = PV/RT
(อุณภูมิเปลี่ยนจากอาศาเซลเซียสเป็นเคลวิน จะได้ T=802+273=1075)
= (1.30 × 3.00) / (0.08206 ×1075)
n = 0.044 mol
4 NH3 ได้ 6 H20 ถ้า 0.044 NH3 ได้น้ำ = (0.044×6) / 4
= 0.066 mol
V = nRT/P
(อุณภูมิเปลี่ยนจากอาศาเซลเซียสเป็นเคลวิน จะได้ T=125+273=398)
= (0.066 × 0.08206 ×398) / 1
= 2.16 L
* สมการเคมีพิมลูกศรปฏิกิริยาไม่ได้นะคะ ใช้สัญลักษณ์ ____ แทน
แก๊สผสมหนึ่งประกอบไปด้วย CH4 0.31 โมล, C2H6 0.25 โมล และ C3H8 0.29 โมล มีความดันรวมเท่ากับ 1.50 atm จงหาความดันย่อยของแก๊สแต่ละตัว
ตอบลบn รวม = 0.31 + 0.25 + 0.25 = 0.85 mol
X1 = n1/nt = P1/Pt
P1 = n1/nt*Pt
= 0.31/0.85*1.50
= 0.55 atm
P2 = n2/nt*Pt
= 0.25*1.50/0.85
= 0.44 atm
P3 = n3/nt*Pt
= 0.29*1.50/0.85
= 0.51 atm
นางสาวศุภพร กฤตานุสรณ์ 5308104342 food – tech ปี3 ค่ะ
โจทย์ แก๊ส A 1 โมล หนัก 46 กรัม ที่ STP ถ้าแก๊ส A มีปริมาตร 200 cm3
ตอบลบที่อุณหภูมิ 27 ํC และมีความดัน 3 บรรยากาศ จะหนักเท่าไร
วิธีทำ แก๊ส A 1 โมล หนัก 46 กรัม แสดงว่า แก๊ส A มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 46
จากสูตร PV = nRT
PV = gRT
M
g = PVM
RT
= 3 atm X 0.2 L X46 g mol-1
0.082 L atm mol-1K-1 X 300 K
g = 1.12 กรัม
แก๊ส A 200 cm3 ที่ 27 ํC ความดัน 2 atm จะหนัก 1.12 กรัม
*** นางสาว สุภัททา เปี่ยมสุข รหัส 5308104348 FOOD-TECH ***
ถังออกซิเจนถังหนึ่งมีขนาด 10 l สามารถทนความดันได้ 70 atm ถ้าบรรจุแก๊สออกซิเจนลงไปจำนวนหนึ่งที่ทำให้เกิดความดัน 50 atm ที่ อุณหภูมิ 25 °C ถามว่าถังจะระเบิดหรือไม่เมื่อเราทิ้งถังนี้ไว้ในโกดังที่มีอุณหภูมิสูงถึง 38 °C และเราสามารถเก็บถังนี้ไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดเท่าใด ถังจึงจะไม่ระเบิด (52 atm,ถังไม่ระเบิด, ไม่เกิน 144.2 °C)
ตอบลบวิธีคำนวน
หา n ของแก๊ส จาก PV = nRT
n = PV/RT = 50 atm x 10L / 0.08206L atm K ยกกำลัง-1 mol ยกกำลัง-1 x 298 K
= 20.5 mol
หาว่า T= 38 °C จะมี P =?
P = nRT/V = 20.5 mol x 0.08206 L .atm.K ยกกำลัง-1 mol ยกกำลัง-1 x 311 K
= 52 atm (น้อยกว่า 70 atm ดังนั้น ถังไม่ระเบิด)
ที่ P = 70 atm จะต้องใช้ T= ?
T = PV/nR = 70 atm x 10 L/ 20.5 mol x 0.08206L.atm.Kยกกำลัง-1 mol ยกกำลัง-1
= 416.4 K
= 143.1 °C
นางสาวสุรีย์นิภา บุ้นประสิทธิ์ชัย รหัส 5308104349 สาขา food-tech
นายภัฎษ์ หาญนอก รหัส 5308104326 สาขา Food-Tech
ตอบลบโจทย์ ภาชนะใบหนึ่งมีขนาด 2.10 L บรรจุแก๊ส A หนัก 4.65 กรัม ที่ความดัน 1.00 atm และอุณหภูมิ 27 C จงหามวลโมเลกุลของแก๊ส A
วิธีทำ PV = nRT
n= Pv/Rt
=1.00 atm × 2.10 L/ 0.0821 L atm mol-1 K-1 ×300K
=X mol
มวลโมเลกุล = 4.65g/X mol
=54.54 g mol-1 ตอบ
โจทย์ แก๊สฮีเลียมจำนวน 2 mol ที่อุณหภูมิ 27 oC ความดัน 380 mmHg มีปริมาตรเท่าใด
ตอบลบวิธีทำ PV = nRT
ความดัน 380 mmHg = 380/ 760 = 0.5 บรรยากาศ (atm)
อุณหภูมิ 27 oC = 273+ 27 = 300 K
V = nRT/p
= (2 mol) (0.082 l.atm K-1 mol-1) (300 K) /(0.5 atm)
= 98.40 l
∴ ปริมาตรของแก๊สฮีเลียม = 98.40 ลิตร
นางสาวจริยา เพื่อธงสา รหัส 5308104306 สาขา Food Tech
แก๊ส CO2 จำนวนหนึ่งบรรจุอยุ่ในภาชนะขนาด 10.0 L วัดความดันได้ 0.5 atm ที่อุณหภูมิ 30 oC แก๊สนี้มี่โมเลกุล?
ตอบลบจากสูตร n=g/M = V/22.4 = N/6.02x10ยกกำลัง23 = CV/1000 M.W ของ CO2 = 44 g/mol
วิธีทำ PV = nRT
PV = n/6.02*10 ยกกำลัง 23 x RT
(0.5 atm)(10.0 L) = n/6.02*10 ยกกำลัง 23 (0.0821 atm.L/mol.K)(30+273.15 K)
5 atm.L = n/6.02*10 ยกกำลัง 23 (24.89 atm.L/mol)
n = (5 atm.L)(6.02*10 ยกกำลัง 23) / 24.89 atm.L/mol
= 1.21 *10 ยกกำลัง 23 โมเลกุล #
นางสาวรสสุคนธ์ สุยะเสียน รหัส 5308104331 สาขา Food - Tech
โจทย์
ตอบลบแก๊สชนิดหนึ่งเกิดจาก Si และ F โดยมีสัดส่วนโดยน้ำหนักคือ Si = 33.0%, F = 67.0% จงหาสูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ เมื่อแก๊สนี้มีน้ำหนัก 2.38 g ที่ 1.70 atm มีปริมาตร 0.210 l และ อุณหภูมิ 35 oC (Si2F6)
วิธีทำ
Si : F สัดส่วนโดยน้ำหนัก = 33.0 : 67.0
สัดส่วนโดยโมล = (33.00/28.09) : (67.00/19.00)
= 1.17 : 3.5
= 1 : 3
ได้สูตรอย่างง่ายคือ SiF3
หาMW = M/n
= (M/pv)(RT)
= (2.38 g)(0.08206 atm.L.K-1.mol-1)(308 K)/(1.70 atm)(0.210 L)
= 168.5 g/mol
SiF3 = 85.09 เมื่อคูณ 2 จะได้ 170.18 (~168.5)
ดังนั้นสูตรโมเลกุลของ SiF3 คือ Si2F6
นางสาวอรณิชา อินทจิตร รหัส 5408104342 สาขา Food-Tech
แก๊ส 500 cm3 หนัก 0.326 g ที่ 100 oC และ 380 torr มีน้ำหนักโมเลกุลเป็นเท่าใด (39.9)
ตอบลบวิธีทำ n = PV/RT
= 0.5 atm*500*10ยกกำลัง-3 l ทั้งหมดหารด้วย 0.08206 l.atm.Kยกกำลัง-1.molยก กำลัง-1*373 K
= 8.17*10ยกกำลัง-3 mol
น้ำหนัก/MW = n
MW = น้ำหนัก/n
= 0.326 g ทั้งหมดหารด้วย 8.17*10ยกกำลัง-3 mol
= 39.9 g/mol
****โดย นางสาวลัดดาวัลย์ เจนสระครู รหัส 5308104334 สาขา Food-tech
แก๊ส O2 หนัก 28.0 g มีความดัน 800 torr ที่ 27 C มีปริมาตรเท่าใด
ตอบลบวิธีทำ n = น้ำหนัก/MW
= 28 g ทั้งหมดหารด้วย 32 g.molยกกำลัง-1
= 0.875 mol
V = nRT/P
= (0.875 mol)(62.363L.torr.Kยกกำลัง-1.molยกกำลัง-1)(273.15+27K)ทั้งหมดหารด้วย 800 torr
= 20.47 L
ตอบ แก๊ส O2 มีปริมาตร 20.47 L
.......นางสาวอรอุมา หล้าคำ รหัส 5308104352 สาขา Food-tech
โจทย์ จงคำนวณความดันสำหรับแก๊สn-butane(C4H10)จำนวน 20 โมล ปริมาตร 15 ลิตร ที่27๐Cโดยใช้ ก. กฏของแก๊สในอุดมคติ ข.สมการแวนเดอร์วาลส์ กำหนด a = 14.47,b = 0.1226
ตอบลบก.จากสูตร PV = nRT
n = 20 mol
T = 27+73 = 300 K
V = 15 L
R = 0.08205 Latm mol-1K-1
แทนค่าได้ P = 32.8 atm
ข. จากสูตร (p+n2a/V2)(V-nb)= nRT
a = 14.47 L2atm mol-2
b = 0.1226 mol-1
แทนค่า n,T,V,aและbจะได้ P = 13.49atm
:ความดันที่แท้จริงของ n-C4H10 ในปริมาตร 15L ที่ 27oC เท่ากับ 13.45 บรรยากาศ
***นางสาวธัญญลักษณ์ พิมจินดา รหัส 5308104318 Food-Tech
โจทย์ : นำ Al2O3 มาทำปฏิกิริยากับผงถ่าน (C) ที่มากเกินพอ ปรากฏว่าเกิดแก๊ส CO 9.0 L ที่ STP ซึ่งคิดเป็นผลผลิตร้อยละ 90 จงคำนวณหาน้ำหนักของ Al2O3 ที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา
ตอบลบn = PV/RT =(1 atm)(9 L)/(0.08206 L.atm.k-1.mol-1)(273.15K) = 0.401 mol
ผลผลิตของ CO ที่เกิดขึ้นจริงเป็น 90% หรือ (0.401 mol)(2 mol)/x = 9
x = 0.45 mol
น้ำหนักของ Al2O3 ที่นำมาทำปฏิกิริยาคือ
[(0.45 mol)(2 mol)/(6 mol)]* (26.98*2 + 16.0*3)g.mol-1 = 15.29g
นายรัฐปกรณ์ วิชญธน รหัส 5308104332 สาขา Food-Tech
แก๊สแอมโมเนียม 3.86 โมล มีปริมาตร 4.45 ที่ 38 oC จงหาความดันของแก๊สนี้ โดยใช้สมการของแก๊สสมบูรณ์และแก๊สจริง
ตอบลบวิธีทำ แก๊สสมบูรณ์
P = nRT/ V = 3.86x0.08205x320/4.45
= 25.62 atm
แก๊สจริง
p = nRT/V-nb - a(n/v)2
=3.86x0.08205x320/4.45-3.86x0.0317 - 4.17(3.86/4.45)2
=23.42-3.14
=20.28 atm
ดัดแปลงโดย นาย สันติภาพ สุพนาลัย รหัส 5308104345 สาขาFOOD-TECH ปี 3
ผสมแก๊ส SO2 80.0g และ O2 32.0 g ในถังขนาด 100 L ปล่อยให้แก๊สทั้งสองทำปฏิกิริยากันอย่างสมบูรณ์ตามสมการ
ตอบลบ2SO2(g) + O2(g) >>> 2SO3(g) แล้วตั้งทิ้งไว้จนอุณหภูมิของแก๊สในถังเป็น27 ๐C จงคำนวณหาความดันรวมของแก๊สในถังหลังจากปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์
n(SO2) = 80.0g / (32.0 + 16.0 *2)g.mol-1 = 1.25 mol
n(O2) = 32.0g / (16.0*2)g.mol-1 = 1.0 mol
อัตราส่วนของ n(SO2)/n(O2) ที่ผสมน้อยกว่าอัตราส่วนปริมาณสารสัมพันธ์ หรือ SO2 เป็นสารกำหนดปริมาณ SO
n(O2) = 1.0 mol - (1.0 mol)(1.25 mol)/(2.0 mol) = 0.375 mol
P = nRT/V = (1.25+0.375 mol)(0.08206 L.atm.k-1.mol-1)(273.15+27.0 K)/100.0 L = 0.40 atm
นายภัฎษ์ หาญนอก รหัส 5308104326 สาขา Food-Tech
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบนายนันทพงศ์ แสนบุดดี รหัส 5308104319 สาขา Food-Tech
ตอบลบออกไซด์ของโลหะ X จำนวน 28 g ทำปฏิกิริยากับผงถ่านที่มากเกินพอในภาชนะปริมาตร 6.0 L ได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
ลบซึ่งมีความดัน 0.821 atm ณ อุณหภูมิ 27๐C จงคำนวณหาน้ำหนักเชิงอะตอม X เมื่อสมการปฏิกิริยาเป็นดังนี้
X2O(s)+C(s) >>>>2X(s)+CO(g)
คำนวณหาจำนวนโมลของ CO ที่เกิดขึ้น
n = RT/PV >> n=(0.08206 L.atm.K-1.mol-1)(273.15+27.0K)/(0.821atm)(6.0L)=5.0mol
จากสมการเคมีที่กำหนดให้
CO 1 mol เกิดจาก X 2 mol
CO 5 mol เกิดจาก X (2 mol)(5/1)=10 mol
MW(x) = (28 g)*(10 mol) = 2.8 g.mol-1
นางสาวพัชรา ใจซื่อ
ตอบลบรหัส 5308104322
สาขา Food-Tech
โจทย์ ในแอร์แบก ที่ใช้ในรถยนต์จะบรรจุสาร sodium azide (NaN3) ที่เมื่อเกิดการกระแทกจะเกิดการสลายตัวให้ แก๊สไนโตรเจน และ โลหะ จงหาปริมาตรของแก๊สไนโตรเจนที่ 21 oC และ 823 mmHg ที่เกิดจากการสลายตัว ของ NaN3 60.0 g ( 30.8 l)
เฉลย
NaN3 2 โมลให้ N2 3 โมล
MW'NaN3 = 23+3*14 = 65
n = M/w
n = 60.0/65 = 0.92 mol
NaN3 2 โมลให้ N2 3 โมล
NaN3 0.92 โมลให้ N2 = 0.92*3 /2 = 1.38 mol
v = nRT/P = 1.38 * 0.08206 * 294 / 1.38 = 3.08 l
นางสาวจินตนา กองสี
ตอบลบรหัส 5308104309
สาขา Food Tech
โจทย์ : จงหาปริมาตรของ O2 ที่ STP ที่จะทำให้เกิดการสันดาป acethylene (C2H2) 2.64 l หมดพอดี ที่ STP สมการการสันดาปคือ 2C2H2(g) + 5O2(g) 4CO2(g) + 2H2O(l) (6.60 l)
1 mol = 22.42 L ที่ STP
C2 H2 ในปริมาตร 2.64 L ดังนั้น C2 H2 มีจำนวนโมล = 0.118 mol
mol ของ C2H2 กับ O2 = 2 : 5
ถ้าใช้ C2H2 0.118 mol จะต้องใช้ O2 = 0.188 x 5 /2= 0.295 mol
PV = nRT
V = nRT/P = (0.29×0.08206×273)/1
= 6.60 L
โจทย์ จงคำนวณโมเลกุลของแก๊สอุดมคติปริมาตร 2 m^3 ที่ STP
ตอบลบวิธีทำ สาภาวะที่ STP T=273.15 K และ ความดันP = 1.013〖×10〗^5 N/m^2 ดังนั้นจำนวนโมเลกุลของแก๊สอุดมคติปริมาตรV =2〖 m〗^3 ที่STP
จาก PV=N Kb T
N = PV/( Kb T)
= (1.013〖×10〗^5 N/m^2× 2 m^3)/(1.38×〖10〗^(-23) J/K × 273.15 K )
= 5.37 × 〖10〗^25 โมเลกกุล
นาย อดิศร เจริญธรรม รหัส 5308104350 FOOD-TECH
โจทย์
ตอบลบจงคำนวณหาความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิดและความดันรวมของ แก๊สไฮโดรเจน 2 โมล ,แก๊สออกซิเจน 4 โมล และแก๊สฮีเลียม 6 โมล ในถังปริมาตร 5 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส
วิธีทำ
1. เปลี่ยนหน่วนอุณหภูมิเป็นหน่วยเคลวิน : K = 27 + 273.15 = 300.15 K
2. ใช้สมการ PV = nRT หาความดันของแก๊สไฮโดรเจน (H2)
P H2 = nRT/V = (2 mol×0.0821 atm mol-1 K-1×300.15 K)/5 L
= 9.86 atm
3. คำนวณหาความดันของแก๊สออกซิเจน
P O2 = nRT/V = (4 mol×0.0821 atm mol-1 K-1×300.15 K)/5 L
=19.7 atm
4. คำนวณหาความดันของแก๊สฮีเลียม
P He = nRT/V = (6 mol×0.0821 atm mol-1 K-1×300.15 K)/5 L
=29.57 atm
5. คำนวณหาความดันรวมของแก๊ส
P total = P He + P O2 + P H2 = 9.86 + 19.7 + 29.57 = 59.13 atm
..........นายคเณศ อาเชอ รหัส 5308104305 สาขา Food-Tech.........
โจทย์
ตอบลบจงคำนวณความดันย่อยของแก๊สผสมในหน่วยทอร์ (torr) ของแก๊ส ไฮโดรเจน 6 กรัม แก๊สออกซิเจน 32 กรัม และแก๊สไนโตรเจน 56 กรัม ที่มีความดัน 750 ทอร์
วิธีทำ
1. หาจำนวนโมลของแก๊สไฮโดรเจน = 6 กรัม x 1 โมล / 2 กรัม = 3 โมล
2. หาจำนวนโมลของแก๊สออกซิเจน = 32 กรัม x1 โมล / 32 กรัม = 1 โมล
3. หาจำนวนโมลของแก๊สไนโตรเจน = 56 กรัม x 1 โมล / 28 กรัม = 2 โมล
4. หาจำนวนโมลรวม
จำนวนโมลรวม = 3 โมล H2 + 1 โมล O2 + 2 โมล N2
= 6 โมล
5. หาสัดส่วนจำนวนโมลของแก๊สไฮโดรเจน
สัดส่วนจำนวนโมลของ H2 = จำนวนโมลของ H2 / จำนวนโมลทั้งหมด
= 3 โมล H2 / 6 โมล
= 0.5
6. หาความดันย่อยของแก๊สไฮโดรเจน
P H2 = สัดส่วนโมลของ H2
= จำนวนโมลแก๊สไฮโดรเจน x ( ความดันทั้งหมด)
= 0.5 ( 750 torr) = 375 torr
7. หาสัดส่วนจำนวนโมลของแก๊สออกซิเจน
สัดส่วนจำนวนโมลของ O2 = จำนวนโมลของ O2 / จำนวนโมลทั้งหมด
= 1 / 6 = 0.167
8. หาความดันย่อยของแก๊สออกซิเจน
P O2 = สัดส่วนโมลของแก๊สออกซิเจน x (ความดันทั้งหมด)
= 0.167 ( 750 torr)
= 125 torr
9. หาสัดส่วนจำนวนโมลของแก๊สไนโตรเจน
สัดส่วนจำนวนโมลของ N2 = โมลของ N2 / จำนวนรวม
= 2 / 6
= 0.333
10. หาความดันย่อยของแก๊สไนโตรเจน
P N2 = สัดส่วนโมลของ N2 x (ความดันทั้งหมด)
= 0 .333(750 torr)
= 250 torr
.......นางสาวภัสราภรณ์ ใยดวง รหัส 5308104327 สาขา Food-Tech
น.ส. รจนา เป้าหินตั้ง รหัส 5308104330 สาขา food-tech
ตอบลบโจทย์
- ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และเฉื่อยต่อปฏิกิริยามาก จงคำนวณหาความดันเป็นบรรยากาศของแก๊สชนิดนี้จำนวน 1.82 โมลในภาชนะเหล็กกล้าขนาด 5.43 ลิตรที่ 69.5 °C
วิธีทำ โจทย์กำหนด V=5.34 L , T=69.5 C , n=1.82 mol
PV = nRT
PV= nRt/V
= (1.82 mol)*(0.0821 atm.L/mol.k)*(69.5+273.15 k)/5.34 L
= 9.58 atm
โจทย์
ตอบลบแก๊ส X 1 โมล หนัก 70 กรัม ที่ S.T.P. ถ้า X มีปริมาตร 300 cm3 ที่อุณหภูมิ 27 °C ที่ความดัน 1 atm จะหนักกี่กรัม
วิธีทำ
แก๊ส X 1 โมล หนัก 70 g แสดงว่าแก๊ส X มีมวลโมเลกุล = 70
แก๊ส X ? g ปริมาตร 300 cm3 27 °C 1 atm
สูตร PV = g/M RT
แทนค่า ; 1 atm × 300/1,000 l = g/70 × 0.0821 l.atm.K-1.mol-1 × (273 + 27) K
∴ g = 0.853 g
น.ส. รัตนา ปรีดามีสุข รหัส 5308104333 สาขา Food-Tech
วลัยลักษ์ จิตต์สวัสดิ์
ตอบลบรหัส 5308104337
สาขา Food Tech
แก๊ส O2 ที่ STP บรรจุในภาชนะปิดที่มีปริมาตร 1.00 L เมื่อให้ความร้อน จนอุณหภูมิเป็น 100 องศาเซลเซียส ความดันของแก๊ส O2 จะเป็นเท่าไร
จาก P1V1/n1T1=P2V2/n2T2
เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงจํานวนโมลและปริมาตรของแก๊ส O2
ดังนั้น P2=P1T2/T1
P2=1atm*(100+273)K
P2=1.37 atm
นายอัคริศ อุดมชัย
ตอบลบรหัส 5308104353 สาขา food-tech
จงหาจำนวนโมลของแก๊สซึ่งบรรจุในภาชนะ 3.0 dm3 ความดัน 1 atm อุณหภูมิ 27 ํC
วิธีทำ จากสูตร PV = nRT
n = PV
RT
= 1 atm X 3 dm3
0.082 dm3 atm mol-1K-1 X 300 K
= 0.12 mol
จำนวนโมลของแก๊สนี้ = 0.12 โมล
ถ้าความหนาแน่นของแก๊สชนิดหนึ่งเป็น 1.28 กรัม/ลิตร ที่ 25 ํC
ตอบลบความดัน 560 mmHg จงหามวลโมเลกุลของแก๊สนี้
วิธีทำ จากสูตร P = dRT
M
M = dRT
P
= 1.28 g L-1 X 62.4 L mmHg mol-1K-1 X 298 K
560 mmHg
M = 42.5 gmol-1
มวลโมเลกุลของแก๊สนี้ = 42.5
น.ส.ชุติมา กลิ่นขวัญ
ลบรหัส 5308104315 สาขา food-tech
-----นางสาวจุรารัตน์ พรหมมาลี รหัส 5308104310 สาขา Food-tech
ตอบลบ<<< สุธาทิพย์ ชูศักดิ์ รหัส 5308104347 Food-Tech >>>
ตอบลบถังAขนาดบรรจุอากาศที่อุณหภูมิ 25 C และความดัน 500 kPa ต่ออยู่กับถัง B ซึ่งบรรจุอากาศปริมาณ 5 kg ที่อุณหภูมิ 35 C และความดัน 200 kPa ถ้าเปิดวาล์วให้เกิดการถ่ายโอนมวลระหว่างถังทั้งสอง จนระบบถึงสมดุลทางความร้อนที่ 20 C ให้หาความดันของระบบที่สภาวะสมดุล
ลบวิธีทำ พิจารณาให้อากาศเป็นแก๊สอุดมคติ
จากสมการที่ PV = nRT
ดังนั้นที่สภาวะสมดุล P = mRT/V
โดยที่ m = m1 + m2 และ V = V1 + V2
สมบัติของอากาศมีค่า R = 0.287 kPa*m^3/kg*K
จากข้อมูลที่โจทย์กำหนด V1 = 1.0 m^3 , m2 = 5.0 kg
การที่จะคำนวณหาความดันที่สมดุลจะต้องหา ค่า m1 และ V2
โดย m1 = PV1/RT
= (500kPa)(1.0m^3)(1/298K)
= 5.846 kg
V2 = m2RT/P
= (5kg)(0.287kPa*m^3/kg*K)(293K)(1/3.21m^3)
= 284.1 kPa ตอบ
ดังนั้น ความดันของระบบที่สภาวะสมดุลเท่ากับ 284.1 kPa
แก๊สออกซิเจนที่ STP บรรจุนาชนะปิดที่มีปริมาตร 1.00L เมื่อให้ความร้อนจนอุณหภูมิเป็น 100C ความดันของแก๊สออกซิเจนจะเป็นเท่าไหร
ตอบลบวิธีทำ P1V1/n1T1 = P2V2/n2T2
เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนโมลและปริมาตรของแก๊สออกซิเจน
P2 = P1T2/T1
= 1atm*(100+273.15)K ทั้งหมดหารด้วย 273.15K
= 1.366 atm
ตอบ ความดันของแก๊สออกซิเจน = 1.366 atm
-----นางสาวจุรารัตน์ พรหมมาลี รหัส 5308104310 สาขา Food-tech
โจทย์ แก๊สไนโตรเจนหนัก 0.1325 กรัม มีปริมาตร 150 cm^3 อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส มีความดันเท่าใด ? ( N = 14.0 )
ตอบลบแนวคิด ต้องเปลี่ยนน้ำหนักของแก๊สไนโตรเจนให้เป็นโมล (n) ก่อน แล้วใช้สมการแก๊สอุดมคติ หาความดันซึ่งมีหน่วยเป็น atm , ปริมาตรต้องใช้หน่วยเป็น L , อุณหภูมิหน่วย K และค่าคงตัวของแก๊สใช้หน่วย L * atm * K^-1 * mol^-1 ซึ่งมีค่า 0.08206
วิธีทำ หาโมลของแก๊สไนโตรเจน
โมลของแก๊สไนโตรเจน = น้ำหนักของแก๊สไนโตรเจน / มวลโมเลกุล
= 0.1325 g / 28.0 g/mol
= 0.0047 mol
หาความดันของแก๊สไนโตรเจน
PV = nRT
เมื่อ P = ? atm , V = 150 cm^3 = 0.15 L , n = 0.0047 mol ,
R = 0.08206 L * atm * K^-1 * mol^-1 , T = 273.15 + 30 = 303.15 K
แทนค่าลงในสูตร P * 0.15 L = 0.0047 mol * 0.08206 L * atm * K^-1 * mol^-1 * 303.15 K
P = 0.0047 mol * 0.08206 L * atm * K^-1 * mol^-1 * 303.15 K / 0.15 L
= 0.7795 atm
ตอบ ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส แก๊สไนโตรเจน มีความดัน 0.7795 atm
**( สัญลักษณ์การหาร / , สัญลักษณ์การคูณ * , สัญลักษณ์ยกกำลัง ^ )**
ชื่อ นางสาว โชติรส พงษ์ทองวัฒนา รหัส 5308104316 สาขา Food-Tech
Ideal gas 5 โมล ขยายตัวแบบผันกลับได้จากปริมาตร 50 L เป็น 150 L ที่ T คงที่ = 150oC จงคำนวณงานเป็น L-atm และ J
ตอบลบวิธีทำ T คงที่ V เปลี่ยนไปมา ==> P ไม่คงที่
คิดงาน W = PDV ไม่ได้ (เพราะ P ไม่คงที่)
W = P dV = nRT/V dV = nRT (1/V) dV
= nRT ln (V2/V1) = 5 mol x 8.314 J/mol K x 423 K x ln (150/50)
= 19,300 J (R = 0.0821 Latm/mol K, W = 190.8 L atm)
ชื่อ นางสาวสโรชา ผ่องผึ้ง รหัส5308104344 สาขา food-tech
น.ส.ขวัญภิรมณ์ งอกงาม
ตอบลบรหัส 5308104304
สาขา Food Tech
ภาชนะใบหนึ่งมีปริมาตร 15 dm3 บรรจุแก๊ส A 1 โมล และแก๊ส B 2 โมล และแก๊ส C 1.5 โมล ที่อุณหภูมิ 25 ๐C ถ้า แก๊ส A B C ไม่ทาปฏิกิริยากันจงหาความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิด และความดันรวม
TA = NART / V
= (1 * 0.0821 * 298) / 15 = 1.63 atm
TB = NBRT / V
= (2 * 0.0821 * 298) / 15 = 3.26 atm
TB = NBRT / V
= (1.5 * 0.0821 * 298) / 15 = 2.45 atm
PT = 1.63 + 3.26 + 2.45 = 7.34 atm
นายภูษิต สายจันทร์ รหัส 5308104328 สาขา Food Tech
ตอบลบจงคำนวณหาปริมาตรของแก็สใดๆ 1 mol ที่ STP โดยสมติให้เป็นแก็สอุดมคติ
สภาวะที่ STP หมายถึงอุณหภูมิ T = 273.15 และความดัน P = 1 atm = 1.013 x 105 N/m2 และเนื่องจากโจทย์กำหนดให้แก็สมีปริมาณ 1 mol ดังนั้นปริมาตร V ที่ต้องการทราบจึงคำนวณได้จากสมการ ดังนี้
จาก PV = nRT
V = nRT/P = 1(8.315)(273.15)/1.013x105 =22.4 x 10-3 m3
= 22.4 L, ( 1 L = 10-3 )
จากผลการคำนวณข้างต้นจะเห็นได้ว่าที่ STP ไม่ว่าจะเป็นแก็สชนิดใดหากมีปริมาณ 1 mol จะมีปริมาตรเท่ากับ 22.4 L เสมอ
นางสาวมัลลิกา ทองโคตร์ รหัส 5308104329 สาขา Food-Tech
ตอบลบโจทย์>>>>นำเอาแก๊สออกซิเจน 100 cm3 ซึ่งมีความดัน 360 mmHg และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 150 cm3 ซึ่งมีความดัน 300 mmHg มาใส่ไว้รวมกันในขวดความจุ 200 cm3 อุณหภูมิเท่ากันโดยตลอด จงหาความดันรวมของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในขวดใบนั้น
วิธีทำ PT = Po2 +Pco2
Po2 = P1V1/V2
= 360*100/200
= 180
Pco2 = P1V1/V2
= 300*150/200
= 225
PT = 180+225
= 405 mmHg
นายวีระ เกื้อกระโทก รหัส 5308104339 สาขา Food Tech
ตอบลบจงหาจำนวนโมลของแก๊สซึ่งบรรจุในภาชนะ 3.0 dm3 ความดัน 1 atm อุณหภูมิ 27 ํC
วิธีทำ จากสูตร PV = nRT
n = PV
RT
= 1 atm X 3 dm3
0.082 dm3 atm mol-1K-1 X 300 K
= 0.12 mol
จำนวนโมลของแก๊สนี้ = 0.12 โมล
ก๊าซผสมก๊าซฮีเลียม 4.0 กรัม และก๊าซอาร์กอน 80.0 กรัม ในภาชนะขนาด 10.0 ลิตรที่อุณหภูมิ27 องศาเซลเซียส ความดันก๊าซผสมเป็นกี่บรรยากาศ
ตอบลบถ้าปล่อยลูกโป่งที่มีปริมาตร 6.0 ลิตร ความดัน 1 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ไปสู่บรรยากาศซ่งมีความดัน0.5 บรรยากาศและอุณหภูมิ -23 องศาเซลเซียสลูกโป่งจะมีปริมาตรเป็นเท่าใด
ตอบลบแก๊สแอมโมเนีย (NH3) หนัก 38 กรัม ในภาชนะ10ลิตร ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส แก๊สแอมโมเนียจะมีความดันเท่ากับกี่ atm (N=14, H=1, R=0.0821) *
ตอบลบ